วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

กิจกรรมที่3

ให้นักศึกษาไปศึกษาผู้นำทางวิชาการจากเอกสาร, Internet, การสัมภาษณ์ ในประเด็นดังนี้
1. มีรูปถ่ายสถานที่ประกอบ

2. ประวัติของผู้นำทางวิชาการที่สำคัญ
ประวัติส่วนตัว
1.ข้อมูลทั่วไป
1.1 ชื่อ นางอังศินันท์  อินทรกำแหง  Mrs.Ungsinun  Intarakamhang   
1.2 ตำแหน่งปัจจุบัน
                1.2.1 ดำรงตำแหน่งวิชาการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์
                            ตำแหน่งบริหาร รองผู้อำนวยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ฝ่ายจัดการความรู้และกิจการพิเศษ
                1.2.2 สาขาที่ทำวิจัย สาขาพฤติกรรมศาสตร์ สาขาสังคมวิทยาและจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์สุขภาพ
1.3 สถานที่ติดต่อ
                1.3.1 ที่ทำงานปัจจุบัน สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขุมวิท23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 026495174 โทรสาร 026495182
                E-mail: ungsinun@swu.ac.th
2. ประวัติการศึกษา

ระดับปริญญาเอก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การศึกษานอกระบบโรงเรียน) สาขา การศึกษานอกโรงเรียน
2545
ระดับปริญญาโท 
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)มหาวิทยาลัยมหิดล  สาขา สุขศึกษา  
2536
ระดับปริญญาตรี 
พยาบาลศาสตร์บัณฑิต (การพยาบาลและผดุงครรภ์)วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
2531


 3. ประวัติการทำงาน

2531-2532
2532-2536
2537-2546
2547-ปัจจุบัน
  • พยาบาลประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  • พยาบาลประจำสถานีกาชาดที่ 6 อรัญประเทศ
  • วิทยาจารย์ ฝ่ายพัฒนาบุคคล สภากาชาดไทย
  • อาจารย์ ประจำ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

 4. ตำแหน่งหน้าที่อื่น ๆ
เป็นประธานคณะกรรมการศึกษา โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2547 จนถึงปัจจุบัน
5. สมาคมวิชาการและวิชาชีพ
5.1 สมาชิกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
5.2 สมาชิกสภาการพยาบาล
5.3 สมาชิกสมาคมนักฝึกอบรมแห่งประเทศไทย
5.4 สมาชิกสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย
5.5 สมาชิกสมาคมวิชาชีพสุขศึกษาแห่งประเทศไทย
5.5 สมาชิกสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย
3. ผลงานของนักวิชาการที่ปรากฏ
 1. ผลงานวิจัยเผยแพร่และบทความ
 1.1 ผลงานวิจัยที่นำเสนอที่ประชุมระดับชาติและนานาชาติ
1. Ungsinun  Intarakamhang and Tasana Thongpukdee.  (2005) Development of AcademicLeadership Competency Model for Faculty Members in Public, Private and Public Autonomous University. Oral Presentation at  Asian Applied  Psychology International Regional Conference  (AAPI –RC) on 14-16 November 2005 at  Bangkok , Thailand.
2. Ungsinun Intarakamhang and  Ashara Sucaromana. (2005). Synthesis of Research Studies in Thailand related to Emotional Intelligence.  Poster Presentation at  SASP 34th  Annual Conference , Townsville ,Australia on 8-10 April 2005. 
3. Ungsinun Intarakamhang.(2005). Synthesis of Research Studies in Thailand related to Emotional Intelligence.  Poster Presentation at  Asian Applied Psychology International regional Conference (AAPI – RC) on 16 November 2005 at Bangkok, Thailand.
4.  อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2548). การประมวลและสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับอีคิวในประเทศไทย.  เสนอในที่ประชุมวิชาการเนื่องในวันสถาปนา สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ครบรอบ 50 ปี ในวันที่ 24 สิงหาคม 2548    ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ.
5. อังศินันท์   อินทรกำแหง. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและดัชนีวัดภาวะวิกฤตชีวิตสตรีไทยสมรสวัยกลางคนที่ทำงานนอกบ้านในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. นำเสนอปากเปล่าในที่ประชุมสัมมนาวิชาการในโอกาสครบรอบวันสถาปนา 51 ปีสถาบันสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2549 ณ ห้องประชุมชั้น 8 หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
6.  อังศินันท์   อินทรกำแหง. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิกฤตชีวิตของสตรีไทยสมรสวัยกลางคนที่ทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน.นำ เสนอโปสเตอร์ในที่ประชุมสัมมนาวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนาบุคคล และสังคม เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ณ ห้องประชุมปฐมบริบท ชั้นล่าง อาคารประสานมิตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
7. อังศินันท์   อินทรกำแหง.การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและดัชนีวัดภาวะวิกฤตชีวิตสตรีไทยสมรสวัยกลางคนที่ทำงานนอกบ้านในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. นำเสนอปากเปล่าในที่ประชุม มศว วิชาการ  วันที่ 8 พฤศจิกายน 2549 ณ ห้องประชุมบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
8.  อังศินันท์   อินทรกำแหง อัจฉรา  สุขารมณ์ และอรพินทร์ ชูชม. (2550). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและดัชนีวัดภาวะวิกฤตชีวิตสตรีไทยสมรสวัยกลางคนที่ทำงานนอกบ้านในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.นำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2550 Thailand Research Expo 2007.ภาคนิทรรศการ ในวันที่ 7 -9 กันยายน 2550 ณ เซลทรัลเวร์ด  กรุงเทพฯ.
9.   Ungsinun Intarakamhang. (2007). Causal Relation Analysis and Indices of Midlife Crisis of Employed, Married Thai Women. Oral Presentation at the 4th International Postgraduate Research Colloquium “Harnessing Behavioral Science to Promote the Quality of Life”. 20 June 2007 at The research and Continuing Education Hall, Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand.  
10. Ungsinun Intarakamhang. (2007) Causal Relation Analysis and Indices of Midlife Crisis of Employed, Married Thai Women. Partnership: Protection:Participation: Annual Conference and AGM 2007 Poster Presentation. 23 August 2007  At University of Waikato, Hamilton, New Zealand.
11. Ungsinun Intarakamhang.(2010). “Effect of Self Managing Life Crisis based on  the Oriental Approach toward Midlife Crisis and Well-being of Married Thai Woman in Bangkok” Oral Presentation  at  EAOHP   on 29-31 March, 2010  in  Rome, Italy 
12. อังศินันท์   อินทรกำแหง.สังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและการเผชิญความเครียดของคนไทย.นำเสนอปากเปล่าในที่ประชุม ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการครั้งที่ 3 ในวันที่ 22 มกราคม 2552 ณ อาคารวิจัยและการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
1.2  บทความเผยแพร่ในฐาน TCI(ศูนย์การอ้างอิงวารสารไทยhttp://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/index.html) และฐานอื่น ๆ
                                   1.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2543, มีนาคม-มิถุนายน).  การเรียนรู้ผู้ใหญ่กับการพัฒนาการเรียนรู้ในองค์กร. วารสารครุศาสตร์, (3):92-104.
             2.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2546, สิงหาคม). การเขียนบทความทางวิชาการ:สำหรับนักเขียนมือใหม่. สารศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย. วันประชุมใหญ่สมาคมศิษย์เก่าฯ ประจำปี 2546.
             3.  อังศินันท์   อินทรกำแหง. (2547, กันยายน ตุลาคม). สมรรถนะจำเป็นของผู้นำทางวิชาการ: การเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารครุศาสตร์, 13 (1), 95-105.
             4.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2547). อิทธิพลของปัจจัยด้านการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ภูมิหลังส่วนบุคคลและสภาพแวดล้อมในองค์กรที่มีต่อการปฏิบัติงานของผู้ให้ บริการทางการแพทย์. หนังสือชุดปฏิรูปการศึกษา การศึกษานอกระบบโรงเรียน แนวทางการศึกษาและกิจกรรมที่หลากหลาย.มนัสาสน์ โกวิทยา บรรณาธิการ  ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 36-62.
             5.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2548). การวิจัยอนาคต: การศึกษาแนวโน้มบทบาทของ องค์กร. วารสารจิตวิทยา, 12(1),125-140.
             6.  อังศินันท์ อินทรกำแหงและอัจฉรา สุขารมณ์. (กันยายน, 2548). การประมวลและสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับอีคิวในประเทศไทย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 11 (1),1-18.
             7.  อังศินันท์ อินทรกำแหงและทัศนา ทองภักดี. (กันยายน, 2548). การพัฒนารูปแบบสมรรถนะด้านผู้นำทางวิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชนและในกำกับของรัฐ.วารสารพฤติกรรมศาสตร์,11(1),51-72.
             8. อังศินันท์   อินทรกำแหง อัจฉรา  สุขารมณ์ และอรพินทร์ ชูชม. (2549,กันยายน). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและดัชนีวัดภาวะวิกฤตชีวิตสตรีไทยสมรสวัย กลางคนที่ทำงานนอกบ้านในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 12(1),49-71.
             9.  อังศินันท์   อินทรกำแหง อัจฉรา  สุขารมณ์ และอรพินทร์ ชูชม. (2550,กันยายน). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิกฤตชีวิตของสตรีไทยสมรสวัยกลางคนที่ทำงานในภาค รัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน.วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 13(1),50-65.
             10.  Intarakamhang, U.  (2005). Synthesis of Research Studies in Thailand related to Emotional Intelligence.  Journal of psychology. 57 : Suppl.S 2005.
             11.  Intarakamhang, U. , Raghavan, Chemba  , Choochom, O. ,and Sucaromana, A. (2008, January). Causal Relation Analysis and Indices of Midlife Crisis of Employed, Married Thai Women. Journal of Population and Social Studies,16(2). 71-94.
             12.  Nongnuch Uthaisri, Manat Boonprakob,& Ungsinun Intarakamhang  (2007, September). A synthesis of Thesis on Child-centered Teaching Behaviors Research Summary. The journal of Behavioral Science.2(1),1-9.
             13.  อังศินันท์   อินทรกำแหง. (กุมภาพันธ์,2550). แนวทางการเผชิญและการป้องกันภาวะวิกฤตชีวิตของสตรีไทยสมรสวัยกลางคน (ข้อค้นพบจากการวิจัย). สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
             14. อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2551,กันยายน). สังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและการเผชิญความเครียดของคน ไทย.วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 14(1),135-150.
             15.  บังอร ฉางทรัพย์  พรรณี บุญประกอบ มนัส บุญประกอบ และอังศินันท์ อินทรกำแหง (กันยายน, 2551). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมการรักษาสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่พักอาศัย ในชุมชนแออัด : กรณีศึกษาชุมชนคลองเตย กรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 14(1),166-182.
            16.  อังศินันท์ อินทรกำแหง  อรพินทร์ ชูชม  วรสรณ์ เนตรทิพย์   พัชรี ดวงจันทร์. (2552,กันยายน). การบริหารจัดการและประเมินโครงการเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของ หน่วยงานในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 15(1),28-38.
             17.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(ธันวาคม, 2552). ผลการใช้โปรแกรมการจัดการภาวะวิกฤตชีวิตด้วยตนเองตามแนวตะวันออกที่มีต่อการ รับรู้ภาวะวิกฤตชีวิตและความสุขใจของสตรีไทยสมรสวัยกลางคนในกรุงเทพมหานคร. วารสารพัฒนาสังคม, 11(2), 29-59.
             18.  Ungsinun Intarakamhang. (2009,September).  Research Synthesis Concerning Stress and Coping of Thai People. The Journal of Behavioral Science, 4(1), 44-59.
          19. วิริณธิ์ กิตติพิชัย  อังศินันท์ อินทรกำแหง และจุฑามาศ แก้วพิจิตร. (มกราคม, 2553). การประเมินผลหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา (นบอ.) ตามโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการบริหารมหาวิทยาลัยใหม่. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(1), 56-70.
          20.  อังศินันท์  อินทรกำแหง ทัศนา ทองภักดี และ วรสรณ์ เนตรทิพย์. (กรกฎาคม, 2553). ผลการจัดการโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนใน เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(2), 96-112.
             21.  อรพินทร์  ชูชม อัจฉรา สุขารมณ์ และอังศินันท์  อินทรกำแหง. (กรกฎาคม ,2553). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว-งานกับคุณภาพชีวิต. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(2), 33-49.
             22.  Intarakamhang, U and Thongpukdee,T . (December, 2010). Effects of Self Managing Life Crisis  Based on the Oriental towards Life Crisis and Well-being of  Married  Women. International Journal of Psychological Studies, 2(2).
1.4   หนังสือ/เอกสาร
                1.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2549). เอกสารประกอบการสอน วป 722 ผู้นำ สมาชิกและการพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จำนวน  140 หน้า  
                2.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2551). เอกสารคำสอน วป 591 การคิดถูกวิธี .กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จำนวน  416 หน้า  
                3.  อังศินันท์   อินทรกำแหง.(2552). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 Self ด้วยหลัก PROMISE Model. กรุงเทพฯ: บริษัท สุขขุมวิทการพิมพ์. จำนวน 193 หน้า
2. งานวิจัย/โครงการวิจัย
2.1  ผลงานวิจัยที่ดำเนินการเสร็จแล้ว
1.  การศึกษาบทบาทของสภากาชาดไทยภายในปี พ.ศ.2556        ปี 2542 (เลขาฯ โครงการ)
2.  รายงานการศึกษาโมเดลการพัฒนาดัชนีชี้วัดผลสำเร็จขององค์กร ปี 2545(หัวหน้าโครงการ)
3.  รายงานการศึกษาเพื่อพัฒนาหลักสูตรการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของบุคลากรสภากาชาดไทย 2547 (หัวหน้าโครงการ)
4.  การประมวลและสังเคราะห์งานวิจัย เกี่ยวกับอีคิวในประเทศไทย ปี 2548 (หัวหน้าโครงการ)
5.  การพัฒนารูปแบบสมรรถนะด้านผู้นำทาง วิชาการของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ เอกชน และในกำกับของรัฐ ปี2549 (หัวหน้าโครงการ)
6.   การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุและดัชนีวัดภาวะวิกฤตชีวิตสตรีไทยสมรสวัย กลางคน ที่ทำงานนอกบ้านในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปี 2550(หัวหน้าโครงการ)
7.   การวิจัยและพัฒนาพฤติกรรมการบริโภคด้วยปัญญาของเยาวชนไทย ปี 2550
8.   การศึกษา เครื่องชี้วัดและปัจจัยด้านการถ่ายทอดทางสังคมของพลังปัญญา ของเยาวชนไทยในกรุงเทพมหานคร ปี 2550
 9.   สังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและการเผชิญความเครียดของคนไทย ปี 2551 (หัวหน้าโครงการ)
10.  การวางระบบมาตรฐานการพัฒนาข้าราชการก่อนปฏิบัติงานราชการ  ปี 2551
11.   การบริหารจัดการและประเมินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหน่วยงานในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2551-2552 (หัวหน้าโครงการ)
12.  การประเมินหลักสูตรเสริมสร้างพัฒนาความเข้มแข็งด้านบริหารของมหาวิทยาลัยใหม่ ปี 2552
13.  การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงานที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต ปี 2553
14.  ผลการพัฒนาครูด้านจิตลักษณะและทักษะการสร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียนที่มีต่อพฤติกรรมการอบรมนักเรียนของคร
ูและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นปี2553
15.  ผลการใช้วิธีการจัดการภาวะวิกฤตชีวิตตามแนวตะวันออกที่มีต่อภาวะวิกฤตชีวิต ของสตรีไทยสมรสวัยกลางคนในกรุงเทพมหานคร(หัวหน้าโครงการ) ปี2551 -2553 (หัวหน้าโครงการ)
16.  การบริหารจัดการและประเมินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2552-2553 (หัวหน้าโครงการ)
17.  การบริหารจัดการและประเมินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของสถานพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2552-2553 (หัวหน้าโครงการ)
18.  การบริหารจัดการและประเมินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขององค์กรไม่หวังผลกำไรในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2552-2553 (หัวหน้าโครงการ)
19.  การติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลภาพรวมและศักยภาพในการบริหารจัดการระบบ HiPPS ของทุกส่วนราชการที่มีข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงในรุ่นที่ 1-3  ปี 2553 (หัวหน้าโครงการ)
2.2  งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ
  1.   โครงการบริหารจัดการและประเมินโครงการเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใน กลุ่มโรคเมตาบอลิกของสถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนเขตกรุงเทพมหานคร ปี2553-2554 (หัวหน้าโครงการ)
บรรณาธิการ
1. บรรณาธิการ วารสารพฤติกรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 กันยายน 2550
2. บรรณาธิการ วารสารพฤติกรรมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 กันยายน 2551
3. ผู้ช่วยบรรณาธิการ วารสาร ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่1 มกราคม-มิถุนายน 2552 และ ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2552  ปีที่ 2 ฉบับที่1 มกราคม-มิถุนายน 2553 และ ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2553
คำสัมภาษณ์วิทยุ  เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของภาวะวิกฤตสตีไทยสมรสวัยกลางคนในรายการ
             1.  วิทยุ FM 92.2 วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม 2550 เวลา 20.10 – 20.40 น. ในรายการของมูลนิธิ เครือข่ายครอบครัว  โดยมีพิธีกรคือ คุณรัศมี  มณีดิน
             2.  วิทยุ FM 100.5 อสมท. เนื่องในวันแม่ 12 สิงหาคม 2550 เวลา 09.10 -09.40 น.
             3.  รายการโทรทัศน์ ช่อง UBC 7  Life and New โดยออกรายการสนทนาผ่านทางโทรศัพท์ ในวันอาทิตย์ที่ 22  กรกฎาคม 2550 เวลา 21.20 -21.30 น. โดยมีผู้ดำเนินรายการคือ นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกกรมสุขภาพจิต   
3. รางวัลวิชาการที่ได้รับ
1.  รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น จากสำนักงานกองทุนวิจัย (สกว.) และ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา(สกอ.) ปี 2551
2.  รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย ประจำปี 2551 รางวัลรายงานการวิจัยระดับชมเชย จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
3.  รางวัลเกียรติคุณ  “ต้นไม้ที่เติบโตแห่งการวิจัยนักวิจัยระดับกลาง สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ประจำปี 2553 ให้ไว้ ณ วันที่ 28 เมษายน 2553 ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
4.  เกียรติบัตร ยกย่องสรรเสริญ  ผู้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนกรุงเทพมหานคร เป็นเวลา 4 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.2548 – ปัจจุบัน  ให้ไว้ ณ วันที่ 9 กันยายน 2552
5.  รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นสาขาการบริหาร  ของสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย ให้ไว้ ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2553 
6. เกียรติบัตรเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยมแบบบรรยาย ในการประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ระหว่างวันที่ 14 -16 ตุลาคม 2553 ณ โรงแรมรีเจนฮอลิเดย์อิน จ.เพชรบุรี ของ สกว.ร่วมกับ สกอ.
4.   ประสบการณ์ในวิชาที่สอน
                วป 722 ผู้นำ สมาชิกและการพัฒนาองค์การ ระดับปริญญาโทและเอก
                วป 591 การคิดถูกวิธี ระดับปริญญาโทและเอก
                วป 581 การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์ ระดับปริญญาโท
                วป 791 การบริหารจัดการโครงการ ระดับปริญญาเอก
                วป 884 สัมมนาสังคมศาสตร์เชิงพฤติกรรม ระดับปริญญาเอก
                วป 734 ปรีชาเชิงอารมณ์กับคุณภาพชีวิตและการทำงาน ระดับปริญญาเอก
               วป 803 ปฏิบัติการวิจัย ระดับปริญญาโท


4. เราชอบผู้นำทางวิชาการในประเด็นอะไร
ในประเด็นของการทำงานที่ได้ประสบความสำเร็จในด้านต่างๆอย่างเช่น
-                   ­พยาบาลประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
-                   พยาบาลประจำสถานีกาชาดที่ 6 อรัญประเทศ
-                   วิทยาจารย์ ฝ่ายพัฒนาบุคคล สภากาชาดไทย
-                   อาจารย์ ประจำ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
และตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ เป็นประธานคณะกรรมการศึกษา โรงเรียนวัดทัศนารุณสุนทริการาม กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2547 จนถึงปัจจุบัน  เป็นต้น

กิจกรรมที่2

ให้นักศึกษาศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ในประเด็นนี้

หลักการ/เจ้าของทฤษฏี
     โบรฟี (สุภวรรรณ:2551) ได้กล่าวถึงการจัดการชั้นเรียนไว้ว่า  หมายถึงการที่ครูสร้างและคงสภาพสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้และที่นำไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่ประสบผลสำเร็จในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพการสร้างกฏระเบียและการดำเนินการที่ทำให้บทเรียนมีความน่าสนใจอย่างต่อเนื่อง
     เบอร์เดน (ศุภวรรณ : 2551 )  ให้คำจำกัดความของการจัดการชั้นเรียนไว้ว่าเป็นยุทศาสตร์และการปฏิบัติที่ครูใช้เพื่อคงสภาพความเป็นระเบียบเรียบร้อย
     ซูซาน (ศุภวรรณ : 2551 )  ได้ให้ความหมายของการจัดการชั้นเรียนไว้ว่าเป็นพฤติกรรมการสอนที่ครูสร้างและคงสภาพเงื่อนไขของการเรียนรู้เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลขึนในชั้นเรียนซึ่ง๔อเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้การจัดการชั้นเรียนที่มีคุณภาพนั้นต้องเป็นกระบวนการที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและคงสภาพเช่นนี้ต่อไป

การนำหลักการไปใช้
นำไปบริหารจัดชั้นเรียนเวลาสอนนักเรียนจริงในอณาคตเช่นหลักการจัดบรรยากาศที่เหมาะกับการเรียนการสอน
สรุปไดว่า เนื่องจากชั้นเรียนมีความสำคัญ เปรียบเสมือนบ้านที่สองของนักเรียน และอาจารย์ก็คือพ่อแม่ของเราคนที่สองของเรา  ก็อิทธิพลของชั้นเรียนจึงมีมากพอที่จะปลูกผังลักษณะของเด็กให้เป็นแบบที่ต้องการได้ เช่น ให้เป็นตัวของตัวเอง ให้สามารถทำงานเป็นหมู่คณะได้ดี ให้ชอบแสวงหาความรู้อยู่เสมอ ให้มีความรับผิดชอบ ให้รู้จักคิดวิเคราะห์ของตนได้   ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยดังประสงค์ และมีความรู้สึกอบอุ่นสบายใจในการอยู่ในชั้นเรียนครูจึงควรคำนึงถึงหลักการจัดชั้นเรียน ดังต่อไปนี้
1. การจัดชั้นเรียนควรให้ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม คือชั้นเรียนควรเป็นห้องใหญ่หรือกว้างเพื่อสะดวกในการโยกย้ายโต๊ะเก้าอี้ จัดเป็นรูปต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน ถ้าเป็นห้องเล็ก ๆ หลาย ๆ ห้องติดกัน ควรทำฝาเลื่อน เพื่อเหมาะแก่การทำให้ห้องกว้างขึ้น
2. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน โดยจัดอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมหรือหนังสืออ่านประกอบที่หน้าสนใจไว้ตามมุมห้อง เพื่อนักเรียนจะได้ค้นคว้าทำกิจกรรมควรติดอุปกรณ์รูปภาพและผลงานไว้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
3. ควรจัดชั้นเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งมีอิทธิผลต่อความเป็นอยู่และการเรียนของนักเรียนเป็นอันมาก ครูมีส่วนช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้ดีได้ เช่น ให้นักเรียนจัดหรือติดอุปกรณ์ให้มีสีสวยงาม จัดกระถางต้นไม้ประดับชั้นเรียน จัดที่ว่างของชั้นเรียนให้นักเรียนทำกิจกรรม คอยให้คำแนะนำในการอ่านหนังสือ ค้นคว้าแก้ปัญหา และครูควรสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ไม่ให้เครียด เป็นกันเองกับนักเรียนได้
4. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม ชั้นเรียนจะน่าอยู่ก็ตรงที่นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาด ตั้งแต่พื้นชั้นเรียน โต๊ะม้านั่ง ขอบประตูหน้าต่าง ขอบกระดานชอล์ก แปลงลบกระดาน ฝาผนังเพดาน ซอกมุมของห้อง ถังขยะต้องล้างทุกวัน เพื่อไม่ให้มีกลิ่นเหม็น และบริเวณที่ตั้งถังขยะจะต้องดูแลเป็นพิเศษ เพราะเป็นแหล่งบ่อเกิดเชื้อโรค 
 5. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ ทุกอย่างจัดให้เป็นระเบียบทั่งอุปกรณ์ของใช้ต่างๆ เช่นการจัดโต๊ะ ชั้นวางของและหนังสือ แม้แต่การใช้สิ่งของก็ให้นักเรียนได้รู้จักหยิบใช้ เก็บในที่เดิม จะให้นักเรียนเคยชินกับความเป็นระเบียบ



บรรณานุกรม
เสาวภา  ทศพร้อม.การจัดการชั้นเรียน.(2553) นครศรีธรรมราช:
สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2553
บวร   เทศารินทร์.การจัดบรรยากาศชั้นเรียน2(2552) กรุงเทพฯ.http//www.sobkroo.com
สืบค้นเมื่อวันที่30 เมษายน 2553 จาก http://www.sobkroo.com.main10php

วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

กิจกรรมที่1 ให้นักศึกษาค้นหาความหมายคำว่า การจัดการชั้นเรียน การบริหารการศึกษา จากหนังสือ อินเตอร์เน็ตแล้วสรุปแล้วเขียนลงบทลงในกิจกรรมที่ 1 ของเว็บล็อกของนักศึกษา

การจัดการในชั้นเรียน คือ การจัดสภาพในห้องเรียน
ทางด้านกายภาพหรือการตกแต่งห้องเรียนด้วยวัสดุตกแต่งเพื่อเป็นการจูงใจนักเรียนให้มีความ
สนใจและตั้งใจเรียนและสบายใจ นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการจัดการชั้นเรียนเท่านั้น หากแต่ต้องมีการ
สร้างสรรค์และเอาใจใส่สภาพบรรยากาศภายในห้องเรียนด้วยเช่นกัน ครูจึงเป็นบุคคลที่หลีกเลี่ยง
ไม่ได้เลยในการรับหน้าที่เป็นผู้สร้างและส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอน กระตุ้นความใฝ่รู้และ
ใส่ใจในการศึกษาของผู้เรียน สร้างความมีระเบียบวินัยให้กับผู้เรียน อีกทั้งต้องคงสภาพ
สิ่งแวดล้อมเหล่านี้เพื่อช่วยให้การสอนในชั้นเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
แก่ผู้เรียนอย่างยั่งยืน
ประวัติตนเอง
ชื่อ  :   นายสุทธินันท์  นามสกุล  เจ๊ะแว
ชื่อเล่น  :  โจ้
รหัสนักศึกษา  :  5111116026
คณะครุศาสตร์  :  หลักสูตรสังคมศึกษา
วันเกิด  :  วันที่  29   เมษายน  2531
อายุ  :  22
บ้านเลขที่  191  ม.4     ต.แม่ดง     อ.แว้ง    จ.นราธิวาส  96160
จบมาจากโรงเรียนแสงธรรม  จ.นราธิวาส
เบอร์โทรศัพท์  :  087-2661723
คติ  :  ทำวันนี้ให้ดีที่สุด เพื่ออนาคตข้างหน้า